โลกโซเชียลเหมือนดาบสองคม

เรื่อง โลกโซเชียลเหมือนดาบสองคม

พวกเราอยู่ในยุคที่ผู้คนใช้ social media กันแทบตลอดเวลา หรือทุกวัน

โลกโซเชียลเหมือนดาบสองคม ในการศึกษาและในการผ่อนคลาย เราจะเห็นว่าด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน social media เองก็กลายเป็นสิ่งที่พัฒนาควบคู่กันไปด้วยอย่างไม่หยุดยั้ง อย่างไรก็ตามทุกๆ อย่างบนโลกใบนี้ก็ล้วนแล้วแต่มีข้อดีและข้อเสียด้วยกันทั้งสิ้น social media เองก็เช่นเดียวกันที่จะต้องมี 2 สิ่งนี้ควบคู่กันไปขึ้นอยู่กับว่าใครจะสามารถดึงจุดไหนไปใช้งานได้ก็เท่านั้นเอง

ข้อดีของ social ออนไลน์

เช่น สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้ เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ หรือตั้งคาถามในเรื่องต่างๆ เพื่อให้บุคคลอื่นที่สนใจหรือมีคาตอบได้ช่วยกันตอบ เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ

เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้ามารับชมและแสดงความคิดเห็น ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลูกค้าสำหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้า ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึ้น 

นอกจากนี้โลก social media ยังมีข้อดีมากมาย

เเต่ในมุมหนึ่งก็เป็นดาบสองคมเพราะว่าการใช้ชีวิตอยู่ในโลกโซเชียลนั้น มีทั้งเรื่องที่ไว้ใจได้ เเละไม่ได้ บางคนก็โดนโกงจากการทำงานบนโลก social media โดนหลอกลวงจากเพื่อนในโลกออนไลน์ เครือข่ายสังคมเป็นอันตรายต่อความเป็นส่วนตัว เนื่องจากมีเหตุร้ายหลายประเภทที่สามารถเกิดขึ้นได้ในเครือข่ายสังคม

ฉะนั้นจึงไม่ควรเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นส่วนตัว เรื่องที่เป็นความลับของเรา รวมถึงไปสื่อต่างๆ ที่ไม่เหมาะสม ทั้งอย่าไปหลงเชื่อข่าวอะไรง่ายๆ จนเกิดการเข้าใจผิดกันไป อย่างเช่น การรุมด่าทอ ใครสักคนหนึ่งที่ทำอะไรผิดพลาดไปทั้งแบบตั้งใจและไม่ตั้งใจ หากเป็นคนที่เข้าใจเรื่องนี้ดีก็อาจจะไม่คิดอะไร หากไม่เป็นแบบนั้นใครที่โดนด่าทอบางคนถึงขั้นเครียดจนกลายเป็นซึมเศร้าจนต้องไปหาหมอกินยารักษากันเลยทีเดียว 

อีกด้านหนึ่งมันก็เป็นช่องทำให้เกิดอาชญากรรมได้เหมือนกัน ไม่ว่าจะเป็นการเข้าล้วงข้อมูลบัญชีธนาคาร บัตรเครดิต เลขประจำตัวประชาชน เพื่อนำไปเป็นข้อมูลก่ออาชญากรรม หรือ การล่อลวงทางเพศผ่านแอพพลิเคชั่นหาคู่ จนมีมาซึ่งคดีฆ่าข่มขืน คดีล่อลวงฆ่าต่างๆ และอีกมากมายซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคตดังนั้นเราเองในฐานะผู้ใช้ต้องมีสติ คิดให้รอบคอบก่อนจะทำอะไรลงไป

ก่อนจะเผยเเพร่ เเชร์สิ่งต่างๆให้คนทั่วโลกได้รับรู้ ไม่อย่างนั้นความสะดวก สบายความสนุก จากโลกออนไลน์อาจจะกลายเป็นดาบมาทิ่มแทงตัวเราเองให้เสียหายได้เช่นกัน

 

ข้อมูลเรื่องราวดีๆเหล่านี้ได้มาจาก แทงบอลไม่มีขั้นต่ำ

การเรียนรู้เรื่องคอมพิวเตอร์

การเรียนรู้เรื่องคอมพิวเตอร์พื้นฐาน

การเรียนรู้เรื่องคอมพิวเตอร์

– Profile path : ตำแหน่งโฟลเดอร์บนเซิร์ฟเวอร์ที่ให้จัดเก็บโปรไฟล์ ซึ่งจะสำเนาโปรไฟล์จากเครื่องยูสเซอร์มาเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์ ไม่ว่ายูสเซอร์จะไปล็อกออนบนคอมพิวเตอร์ใดๆ บนโดเมนก็จะดึงโปรไฟล์นี้จากเซิร์ฟเวอร์ไปใช้งาน จึงทำให้จอเดสก์ท็อปและสภาพแวดล้อมบนเครื่องก็จะเหมือนกัน

– Logon script : เป็นส่วนที่ใช้กำหนดตำแหน่ง หรือชื่อไฟล์สคริปต์ที่ต้องการให้รันในขณะล็อกออน เช่น สั่งให้แมปเน็ตเวิร์กไดรฟ์ เปิดโปรแกรมใช้งานประจำ ค่าดีฟอลต์ในการเก็บไฟล์สคริปต์คือ \Windows\SYSVOL\sysvol\ชื่อ domain\scripts

– Home folder : เป็นโฟลเดอร์ส่วนตัวประจำยูสเซอร์ที่สร้างไว้บนเซิร์ฟเวอร์ ไม่ว่าจะไปทำงานที่คอมพิวเตอร์เครื่องใดบนโดเมน ก็จะมีการแมปโฟลเดอร์นี้ให้เป็นไดรฟ์หนึ่งที่เข้าใช้งานได้เฉพาะยูสเซอร์คนนี้เท่านั้น

แท็บ Member Of เป็นส่วนที่แสดงหรือกำหนดเข้าเป็นสมาชิกในกรุ๊ปต่างๆ ค่าดีฟอลต์จะอยู่ในกรุ๊ปของ Domain Users คือเป็นยูสเซอร์ธรรมดา (ผู้ดูแลระบบสามารถจะเพิ่มรายชื่อยูสเซอร์คนนี้เข้าไปเป็นสมาชิกในกรุ๊ปใดๆ ก็ได้ เพื่อเอาไว้ช่วยงาน โดยคลิกเมาส์ปุ่ม Add และเลือกกรุ๊ปที่ต้องการเข้าร่วม)

แท็บ Dial – in เป็นส่วนที่ใช้กำหนดสิทธิ์ในการล็อกเข้าสู่ระบบผ่านทาง Dial – in Server or VPN เพราะว่ายูสเซอร์ทั่วไปจะไม่มีสิทธิ์ในการล็อกออนผ่านทาง Dial – in Server or VPN เราต้องเพิ่มสิทธิ์ให้เฉพาะยูสเซอร์บางคนที่อยู่ตามสาขา และต้องรีโมตล็อกอินเข้ามา โดยจะต้องทำงานร่วมกับ Remote Access – Policies ให้เลือกที่ Allow access

 

เปลี่ยนชื่อยูสเซอร์แอคเคานต์

ผู้ดูแลระบบ หรือ Account Operators สามารถจะเปลี่ยนยูสเซอร์ และรหัสผ่านได้ ตามขั้นตอนต่อไปนี้

  1. ที่เครื่องมือ Active Directory Users and Computers ให้เปิดคอนเทนเนอร์ Users จากนั้นคลิกขวาชื่อยูสเซอร์ที่ต้องการเปลี่ยน และเลือกคำสั่ง Rename
  2. ปรากฏเคอร์เซอร์กะพริบอยู่ที่ชื่อยูสเซอร์คนนั้น ให้เราพิมพ์ชื่อใหม่ลงไป และกด Enter
  3. ปรากฏหน้าต่าง Rename User ให้เราแก้ไขชื่อ จากนั้นคลิกปุ่ม OK

เปลี่ยนรหัสผ่าน

การเรียนรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ หากยูสเซอร์ลืมรหัสผ่านแจ้งผู้ดูแลระบบทำการรีเซ็ตรหัสผ่าน เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่านใหม่ได้ โดยหลังล็อกออน ระบบจะให้ยูสเซอร์เปลี่ยนรหัสผ่านใหม่เองเพื่อความปลอดภัย 

  1. ที่เครื่องมือ Active Directory Users and Computers ให้คลิกขวาตรงชื่อยูสเซอร์ที่ต้องการเปลี่ยนรหัสผ่าน และเลือกคำสั่ง Reset Password
  2. ปรากฏหน้าต่าง Reset Password ให้พิมพ์รหัสผ่านใหม่ลงไป (รหัสผ่านจะต้องประกอบด้วยอักษรตัวพิมพ์เล็ก – ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวเลขรวมกันไม่น้อยกว่า 6 ตัวอักษร)
  3. เลือก User must change password at Next logon เพื่อให้ยูสเซอร์เปลี่ยนรหัสผ่านใหม่หลังจากล็อกออนเสร็จ ทำให้รหัสผ่านมีความปลอดภัยไม่รั่วไหล จากนั้นคลิกปุ่ม OK
  4. ปรากฏหน้าต่างแจ้งว่าเปลี่ยนรหัสผ่านเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกปุ่ม OK
DHCPServer

จัดการกับ DHCP Server

    DHCPServer  ถ้าหากภายในองค์กรมีเครื่องไคลเอนต์อยู่ประมาณ 500 – 1000 เครื่อง และอยู่กระจายกันไป 3 – 5 ตึก ผู้ดูแลระบบและผู้ช่วยจะต้องใช้เวลามากเพียงใดในการไปกำหนดไอพีแอดเดรสให้กับเครื่องไคลเอนต์เหล่านั้น แล้วในกรณีที่มียูสเซอร์ทำการเปลี่ยนไอพีแอดเดรสบนเครื่อง ทำให้เกิดการชนกันของไอพีแอดเดรส กว่าจะหาพบว่าเครื่องใดชนกันก็ต้องใช้เวลามากมายพอสมควร

      ไมโครซอฟท์จึงได้ออกแบบโปรโตคอล DHCP เพื่อช่วยจัดการไอพีแอดเดรสให้แก่เครื่องไคลเอนต์ในระบบ ทำให้ปัญหาการชนกันของไอพีแอดเดรสหมดไป นอกจากนี้ยังสามารถจะกำหนดไอพีแอดเดรสทั้งแบบคงที่ แบบไม่คงที่ และแบบอัตโนมัติได้ตามต้องการ

DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol)

      DHCP เป็นโปรโตคอลที่ใช้กำหนดไอพีแอดเดรสแบบอัตโนมัติให้แก่เครื่องไคลเอนต์ในระบบที่ติดตั้งโปรโตคอล TCP / IP เป็นการลดความซ้ำซ้อนของไอพีแอดเดรส เพราะเครื่อง DHCP เซิร์ฟเวอร์จะเป็นตัวแจกจ่ายไอพีแอดเดรสที่ไม่เหมือนกันเลยให้แก่เครื่องไคลเอนต์ DHCP เซิร์ฟเวอร์จะมีช่วงหรือสโคป (Scope) ในการจ่ายไอพีแอดเดรส

      โดยที่ผู้ดูแลระบบจะต้องกำหนดขึ้นมาเองว่าจะเริ่มที่หมายเลขใด เช่น 192.168.0.10 – 192.168.0.254 หมายความว่ามีช่วงในการแจกไอพีแอดเดรสอยู่จำนวน 244 เครื่อง (ส่วนหมายเลข 1 – 9 จะเป็นของเครื่อง DC, DHCP Server และ DNS Server) เมื่อเครื่องไคลเอนต์เริ่มบูตก็จะทำการขอหมายเลขไอพีแอดเดรส (Subnet Mask, Default Gateway และค่าอื่นๆ)

      จากเครื่อง DHCP Server จากนั้นเครื่อง DHCP Server จะส่งไอพีแอดเดรสกลับไปให้เครื่องไคลเอนต์ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ IP Lease Request, IP Lease Offer, IP Lease Selection และ IP Lease Acknowledgement

 

ในการทำงานปกติเครื่องไคลเอนต์จะต้องขอใช้ (Lease) หมายเลขไอพีแอดเดรสจากเครื่อง DHCPServer

      ผู้ดูแลระบบจะต้องกำหนดระยะเวลาการขอใช้ไอพีแอดเดรสหมายเลขนี้ว่านานเพียงใด เช่น ให้ใช้ 30 วัน แล้วไคลเอนต์ต้องร้องขอหมายเลขไอพีแอดเดรสใหม่ หรือไม่จำกัด (Unlimited) ซึ่งมีขั้นตอนในการทำงานดังนี้

เมื่อเริ่มสตาร์ทเครื่องไคลเอนต์ครั้งแรก จะส่งเมสเสจ IP Lease Request ออกไปบนเครือข่ายเพื่อค้นหาตำแหน่งที่อยู่ของ DHCP Server บนระบบ เรียกว่ากระบวนการ DHCP Discover (เป็นการส่งเมสเสจ DHCP Discover ออกไป)

โดยมีไอพีแอดเดรสต้นทางเป็น 0.0.0.0 และไอพีแอดเดรสปลายทางเป็น 255.255.255.255 หรือ ff:ff:ff:ff:ff:ff:ff ซึ่งเป็นการบรอดคาสต์ (Broadcast) ด้วยโปรโตคอล ARP (Address Resolution Protocol)